เครื่องมือสังเคราะห์ไขพฤติกรรมบุคคล
"CRAFT LAB: Make every technology commercialised"
เครื่องมือสังเคราะห์ไขพฤติกรรมบุคคล
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
การที่จะเข้าใจพฤติกรรมบุคคลนั้นจำเป็นต้องมีการสังเกตุพฤติกรรม และนำกลับมาเขียนคำบรรยายพฤติกรรม อธิบายเหตุของพฤติกรรม เพื่อนำมาพยากร และควบคุมพฤคิกรรม ดังนั้นเครื่องมือสังเคราะห์ไขพฤติกรรมจำเป็นต้องมีการศึกษาพฤติกรรมและหาทางอธิบาย ซึ่งเครืองมือไขพฤติกรรมบุคคลในบทความนี้จะเน้นเป็นเครื่องมือเพื่อรวบรวมและสังเคราะห์คิอด้านพฤติกรรมบุคคล โดยมีโครงสร้างเครื่องมือดังนี้
หัวข้อ: สรุปลักษณะสำคัญขิองพฤติกรรม
คำบรรยายลักษณะพฤติกรรม: บรรยายลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออกมาหรือเกิดอะไรขั้นสำคัญ ซึ่งมีกรอบการบรรยายลักษณะพฤติกรรม/สถานการณ์ ดังนี้
เกิดอะไรขั้น
เกิดขึ้นที่ไหน
เกิดขึ้นกับใคร
ในสถานการณืไหนที่ทำให้เกิดขึ้น
ตัวอย่าง: ทำไมในสถานที่ทำงานที่เป็นงานช่างงานวิศวกรรมถึงไม่ค่อยมีผู้หญิงทั้งๆ ที่ผู้หญิงมีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ที่ดี
เหตุใดจึงเกิดขึ้น (พฤติกรรม/สถานการณ์): การหาคำตอบ (Why/insights) ต่อพฤติกรรมหรือสถานการณ์ เช้น จากกรณีตัวอย่าง ผู้หญิงรู้สึกว่าอาชีพนี้ไม่ใช่อาชีพของผู้หญิง
การพยากรณ์พฤติกรรม (เมื่อใดจึงจะเกิดขึ้นอีกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ทำให้เกิดขึ้นคืออะไร): เป็นการหาแนวคิดสำคัญที่มีการศึกษามาแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดพฤติกรรมนี้
แนวคิดและปัจจัยสำคัญที่สามารถอธิอบายพฤติกรรมนี้: ชื่อแนวคิดที่อธิบายถึงพฤติกรรมนี้
ปัจจัยภายใต้แนวคิดที่สามารถอธิบายพฤติกรรม: เป็นองค์ประกอบสำคัญภายใต้แนวคิดที่จำนำมาใช้พยากรณ์พฤติกรรม
ตัวอย่าง: ถ้าผู้หญิงถูกทำให้เห็นว่าทำงานในสายนี้ได้ และได้รับการยอมรับจะส่งผลให้มีความต้องการในการเข้าทำงานในอาชีพนี้มากขึ้น
การควบคุมพฤติกรรม (จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมหรือสถานการณ์ได้อย่างไร): การเข้าใจแนวคิดจะทำและปัจจัยที่นำไปสู่การพยากรณ์พฤติกรรมและการหาแนวทางในการควบคุมพฤติกรรม ดังนั้นการที่ทราบปัจจัยสำคัญจะนำมาใช้เพื่อระบะหาแนวทางในการควบคุมพฤติกรรมนั้น เช่น จากตัวอย่างตอนต้น การเปลี่ยนภาพลักษณ์ของสายอาชีพทำให้ความต้องการในการเข้าสู่สายอาชีพช่างงานวิศวกรรมมากขึ้น
หากมีข้อคิดเห็นหรือเสนอแนะใดๆ ทักมาคุยกัหรือแอดมาเป็นเพื่อนกันที่ https://www.facebook.com/kmuttentrepreneurship/
หลักสูตรการจัดการการเป็นผู้ประกอบการ นวัตกรรม และความยั่งยืน (#EPM) เป็นหลักสูตรภายใต้การกำกับดูแลของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (#GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (#KMUTT)
สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ (02) 470-9799, (02) 470-9795-6, 084-676-5885
LINE : @GMIKMUTT
หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://gmi.kmutt.ac.th/th/study-with-us/epm/
สนใจสมัครได้ที่ https://bit.ly/GMI_Apply
CRAFT LAB เตรียมความพร้อมในการพัฒนานักวิจัยให้เป็นผู้จัดการผลิตภัณฑ์ที่สามารถมีทักษะและความรู้ที่ควรเป็น อย่างมีผลลัพธ์ สนใจทักมาคุยกับได้ที่ Line: @061jlshn หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
สำหรับท่านที่ต้องการต่อยอดความรู้ระดับ 'ปริญญาโท' ด้านความเป็นผู้ประกอบการนวัตรกรรมสามารถคลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
เพิ่มเราเป็นเพื่อนในเฟสบุ๊คเพื่อรับข่าวสารและข้อมูลต่อยอดความเข้าใจ
เรื่องที่น่าสนใจอื่น