การจดทะเบียนธุรกิจ กฎหมายธุรกิจ และแนวทางปฏิบัติด้านภาษีอากร
(EPM 685)
EPM,GMI, KMUTT
Instructor:
ผศ.ดร.กาญจนา พรสัมฤทธิสกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คุณ กชณัช คงมีสุข เลขานุการสมาคม Biz club
เจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี
Lecture Time: TBC
ปักหมุดข้อมูลสำคัญ/ข่าวประกาศ
UWifi: Gmi 2 XX Password: gmi4709799
ทางไปเรียนออนไลน์ https://kmutt-ac-th.zoom.us/j/3421409736?omn=96172563693
ดูคะแนนเก็บ
นักศึกษาสามารถดูคะแนนเก็บของตัวเองได้ ที่นี่
คำอธิบายรายวิชา
ระบุแนวทางถึงการจัดตั้งธุรกิจ กฎหมายเฉพาะรูปแบบธุรกิจ (ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด) และกฎหมายสำคัญในการดำเนินธุรกิจ เช่น สัญญา ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดจ้าง การคุ้มครองผู้บริโภค ข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายระหว่างประเทศ นอกจากนั้นยังให้ข้อเสนอแนะด้านกฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาษีของผู้ประกอบการ
Pre-requisite: None
Designed for: Post graduated
เป้าหมายการเรียนรู้
1. ระบุกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบของธุรกิจหรือกิจกรรมทางธุรกิจที่สำคัญได้
2. อธิบายแนวทางการจัดการภาษีสำหรับผู้ประกอบการได้
ความสามารถที่ควรได้หลังจากเรียนในรายวิชานี้
ด้านความรู้: กฎหมายธุรกิจ กระบวนการบังคับคดีแพ่งและคดีล้มละลาย ภาษีรายได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กฎหมายธุรกิจ กระบวนการบังคับคดีแพ่งและคดีล้มละลาย
ด้านทักษะ: การแก้ปัญหาด้านกฎหมาย การศึกษาด้านกฎหมายที่เปลี่ยนแปลง
ด้านจริยธรรม: ดำเนินการตาม/สอดคล้องต่อกฎหมายและไม่ใช้กฎหมายในทางมิชอบ
ด้านคุณลักษณะ: มีแนวคิดการไม่สร้างความเสี่ยงด้านกฎหมาย และหาแนวทางป้องกับการเกิดคดีทางกฎหมาย
รายละอียดบทเรียน
ส่วนที่ 1 กฎหมายธุรกิจ
Class 1 (26/3) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและดำเนินธูรกิจ และกฎหมายสำคัญของบริษัทจดทะเบียนในรตลาดหลักทรัพย์
(คุณกชณัช คงมีสุข สมาคมการค้าบิสคลับไทย)
เอกสารการเรียน (PPT)
อ่านประกอบ:
กิจกรรม:
กรณีศึกษา:
แบบฝึกหัด:
การบ้าน:
สอบย่อย:
อื่นๆ:
วีดีโอ:
Class 2 (2/4) การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายสำหรับผู้ประกอบการยุคดิจิทัล
เอกสารการเรียน (PPT)
อ่านประกอบ:
กิจกรรม:
กรณีศึกษา:
แบบฝึกหัด:
การบ้าน:
สอบย่อย:
อื่นๆ:
วีดีโอ:
ส่วนที่ 2 การบังคับคดีแพ่ง
Class 3 (9/4) กรณีศึกษาด้านการจัดการคดีแพ่งและคดีล้มบละลาย สำหรับผู้ประกอบการ
(เจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี)
เอกสารการเรียน (PPT)
อ่านประกอบ:
กิจกรรม:
กรณีศึกษา:
แบบฝึกหัด:
การบ้าน:
สอบย่อย:
อื่นๆ:
วีดีโอ:
ส่วนที่ 3 แนวทางการปฏิบัติด้านภาษีอากรสำหรับผู้ประกอบการ
เอกสารการเรียน (PPT)
อ่านประกอบ:
กิจกรรม:
กรณีศึกษา:
แบบฝึกหัด:
การบ้าน:
สอบย่อย:
อื่นๆ:
วีดีโอ:
เอกสารการเรียน (PPT)
อ่านประกอบ:
กิจกรรม:
กรณีศึกษา:
แบบฝึกหัด:
การบ้าน:
สอบย่อย:
อื่นๆ:
วีดีโอ:
รูปแบบการประเมินและการเก็บคะแนน
เกณฑ์ประเมินการเรียนรู้
นักศึกษาต้องมีสมรรถนะไม่น้อยกว่าในระดับที่ 3 ถึงจะผ่านเกณฑ์การผ่านรายวิชา
ระดับ 1: แสดงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายธุรกิจ
ระดับ 2: แสดงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายภาษีและมาตรฐานบัญชีที่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร บนพื้นฐานของกฎหมายธุรกิจ
ระดับ 3: ประยุกต์ความรู้ด้านกฎหมายธุรกิจ รวมถึงการจัดการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการในสถานการณ์จำลองได้
ระดับ 4: แสดงถึงความรู้ด้านกระบวนการและการความรู้ด้านการจัดการบคดีแพ่งและคดีล้มละลายของผู้ประกอบการ
ระดับ 5: สร้างกลไกในการกำกับดูแลดำเนินการให้สอดคล้องกับกฎหมาย
การเก็บคะแนน
ประยุกต์ความรู้ด้านกฎหมายธุรกิจ (ร้อยละ 35)
จัดการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการ (ร้อยละ 35)
แสดงถึงความรู้ด้านกระบวนการและการความรู้ด้านการจัดการบคดีแพ่งและคดีล้มละลายของผู้ประกอบการ (ร้อยละ 30)
เอกสารประกอบการสอน
Assessment standards
Grading criteria
Performance
Excellent
A
Students show excellent ability to analyze and critically synthesize all aspects of the course as outlined in course objectives. They have extensive knowledge to fulfill the course objectives and develop their own solutions based on skills acquired from the course.
GOOD
B+/B
Students show evidence of knowing how to apply appropriate concepts and theories to handle related case examples.
MARGINAL
C+/C
Students know how to apply concepts and theories to address related issues as outlined in course objectives, but are marginally familiar with how to integrate skills and knowledge to handle complex cases or problems
DO NOT MEET EXPECTATION
D+/D/F
Students show lack of understanding in concepts and theories as outlined in course objectives, and are able to handle only simple problems, still with errors.
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
บทความชวนคิดด้านธุรกิจ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าดูบทความธุรกิจ ตั้งแต่การกาโอกาศ การตั้งกิจการ การพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ การพัฒนาโครงสร้างองค์กร การทำการตลาด การตลาดดิจิทัล การเงินและการเข้าถึงแหล่งทุน รวมถึงการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ตลาดทุน
MBA. Entrepreneurship, Innovation, and Sustainability
เพิ่มเราเป็นเพื่อนในเฟสบุ๊คเพื่อรับข่าวสารและข้อมูลต่อยอดความเข้าใจ