จากไอเดียสู่ธุรกิจ: ก้าวแรกสู่ความสำเร็จในการเปลี่ยนความคิดให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการ
"CRAFT LAB: Make every technology commercialised"
จากไอเดียสู่ธุรกิจ: ก้าวแรกสู่ความสำเร็จในการเปลี่ยนความคิดให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ผศ.ดร. ปารเมศ วรเศยานนท์
บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตรกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ในการพัฒนาสินค้าไปสู่ตลาดในปัจจุบันนั้นมีกระบวนการหลักในการดำเนิการอยู่ 5 ระดับ อันได้แก่
การพัฒนาและทดสอบแนวคิดสินค้า (จากแนวคิดเป็นเอกสารเชิงเทคนิก) (ระดับไอเดียสินค้า)
การระบุช่องว่างในตลาด หรือความต้องการของสังคมที่ยังไม่ถูกเติมเต็ม (อาจใช้เครื่องมือ Design thinking เข้ามาใช้ในการคิดหากมีกลุ่มเป้าหมายแล้วเบี้องต้น)
การพัฒนาแนวคิดสินค้า
การระบุ 'กลุ่มเป้าหมาย' สินค้า
การระบุ 'คุณค่า' สินค้า
การทดสอบแนวคิดสินค้า (กับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย โดยการเอาคุณค่าสำคัญและรูปแบบการส่งมอบสินค้าเป็นตัวตั้ง)
การเข้าใจลูกค้าและความต้องการของลูกค้า (ปัจจัยกระตุ้น พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ)
การพัฒนาแนวคิดตัวต้นแบบ (ใช้ เครื่องมือ MVP)
การทดสอบตัวต้นแบบ
ระบุคู่แข่งและค่าสำคัญขององค์ประกอบสินค้าสินค้าคู่แข่ง
การใช้ House of Quality ("HoQ") เพื่อแปลงควาต้องการและระบุค่าสำคัญต่างๆ เชิงเทคนิค
การพัฒนาเอกสารเชิงเทคนิกสินค้า
การพิจารณาโมเดลธุรกิจเบื้องต้น
การนำเอกสารเชิงเทคนิกเข้าห้องแลปไปแปลงเป็นสินค้า (ระดับแลป)
การนำเอกสารเชิงเทคนิกสินค้ามาพัฒนาสินค้า
การทบทวนและมาตรฐานสินค้า
การทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การทดสอบสินค้า
การวิเคราะห์ต้นทุน
การหาแนวทางในการบริหารจัดการต้นทุน
การพัฒนาแนวทางการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
การประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุน (เบื้องต้น)
การทดลองขึ้นสายการผลิตจริงเพื่อประเมินความเป็นไปได้เชิงเทคโนโลยีการผลิตและความสามารถในการผลิต (ระดับทดลองผลิต)
การประเมินความสอดคล้องกับเทคโนโลยีการผลิตระดับอุตสาหกรรม
การปรับเปลี่ยนสูตรการผลิตเพื่อให้สอดคล้องกับการผลิตระดับอุตสาหกรรม
การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนในการผลิตหรือการจ้างผลิต
การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (ทรัพย์สินทางปัญญาและความลับทางการค้า)
การควบคุมวัตถุดิบ (ต้นทุน การส่งมอบและความสม่ำเสมอ)
การประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุน
การผลิตจริงเพื่อจัดจำหน่าย (ระดับนำเข้าสู่ตลาด)
การขึ้นทะเบียนสินค้า
การวางแผนกลยุทธ์องค์กรในการเข้าสู่ตลาดและการเติบโต
การวางแผนธุรกิจ
การเตรียมความพร้อมในการดำเนินการ
การต่อยอดสินค้าเพื่อการสร้างความหลากหลายสินค้า (ระดับการต่อยอด)
หากมีข้อคิดเห็นหรือเสนอแนะใดๆ ทักมาคุยกัหรือแอดมาเป็นเพื่อนกันที่ https://www.facebook.com/kmuttentrepreneurship/
หลักสูตรการจัดการการเป็นผู้ประกอบการ นวัตกรรม และความยั่งยืน (#EPM) เป็นหลักสูตรภายใต้การกำกับดูแลของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (#GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (#KMUTT)
สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ (02) 470-9799, (02) 470-9795-6, 084-676-5885
LINE : @GMIKMUTT
หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://gmi.kmutt.ac.th/th/study-with-us/epm/
สนใจสมัครได้ที่ https://bit.ly/GMI_Apply
CRAFT LAB เตรียมความพร้อมในการพัฒนานักวิจัยให้เป็นผู้จัดการผลิตภัณฑ์ที่สามารถมีทักษะและความรู้ที่ควรเป็น อย่างมีผลลัพธ์ สนใจทักมาคุยกับได้ที่ Line: @061jlshn หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่
เรื่องที่น่าสนใจอื่น
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
สำหรับท่านที่ต้องการต่อยอดความรู้ระดับ 'ปริญญาโท' ด้านความเป็นผู้ประกอบการนวัตรกรรมสามารถคลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
เพิ่มเราเป็นเพื่อนในเฟสบุ๊คเพื่อรับข่าวสารและข้อมูลต่อยอดความเข้าใจ